www.weipinxgt.com www.hdf598.com www.rzkfqcg.com www.ywd100.com www.gzunitrade.com www.5aziyuan.com www.alsclean.com www.ynzsgc.com www.sdldtg.com www.i-sarima.com www.aijianbing.com www.xushiweigou.com www.haoyulongsp.com www.binqimotor.com www.kenminamipainting.com www.erli30.com www.cdhg88.com www.horse-home.com www.myjxzp.com www.dgselling.com www.chenlongjiancai.com www.zhongkuanwuliu.com www.huameide-sz.com www.shouxitongban.com www.scgcjx0207.com www.qdshengqian.com www.3w800.com www.kl-ad.com www.imshenghuo.com www.xxanlhw.com www.hfkaibo.com www.wlwservice.com www.jxguanghua.com www.zkld2009.com www.duanem.com www.hzwjzs.com www.chdlav.com www.lyxszl.com www.xinlaihuijiaju.com www.hrwholecare.com www.yingyang168.com www.honeywell-lk.com www.yushusanjiangyuanbao.com www.kangningyiyuan.com www.xzkjsxx.com www.jztushuguan.com www.gksswh.com www.jakjxx.com www.yyxlzw.com www.dwdzxx.com www.shszjzx.com www.skf-nsk-fag-ntn.com www.shanghailvhua.com www.yomandoors.com www.wenchengvote.com www.cn-sportsprotectors.com www.fuyixuantc.com www.jiayongdiant.com www.reshousuoj.com www.wuxitianzhile.com www.lsallx.com www.ravor-system.com www.jhbrq.com www.mirrvoll.com www.likekiwi.com www.hbclzqcj.com www.cqqfbxgm.com www.nmgdwjlw.com www.zmdjtzfw.com www.xunchengchaju.com www.gssx-pxgl.com www.sha-jing.com www.zysjmbj.com www.131701.com www.tlyhyy.com www.hbfbfz.com www.hljpadm.com www.fenxiangzhuan005.com www.jv001.com www.ruiyucnc.com www.zhuochenglaser.com www.zhaoshudeng.com www.facebook-france.com www.yuxianchu.com www.139yes.com www.lazonaentertainment.com www.eastofedens.com www.latelier-gourmet.com www.kaisyomaru.com www.tenglonghb.com www.bdsmfreevids.com www.gzshbzw.com www.ymgb0991.com www.setonohanayome.com www.attachmentmoms.com www.njmzyjg.com www.hi4r.com www.exotic-nails.com www.ef25.com www.lslcxx.com
บทความวิชาการ
บทวิเคราะหการปรับบทบาทของหนวยงานภาครัฐ เพื่อการพัฒนาหมูบาน/ชุมชนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
06 มิ.ย. 59 | พระพุทธศาสนา
710

ผู้แต่ง :: พระไพรเวสน์ จิตฺตทนฺโต

พระไพรเวสน์ จิตฺตทนฺโต (2552)

 

 

ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังหันมาให้ความสนใจ และจับกระแสการพัฒนาที่เป็นตัวของตัวเองมากขึ้น

 

เหล้าเก่าในขวดใหม่ไม่น่าจะเป็นเครื่องมือที่นำพาชุมชน

ไปสู่ความสำเร็จในการพัฒนาตามแนวทางที่เป็นทางเลือกนี้ได้อย่างแท้จริง

บทความนี้ได้รับการเรียบเรียงขึ้นจากการค้นคว้าเอกสารทางวิชาการ และมุมมองการวิเคราะห์ในเชิง

วิพากษ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฉายภาพการปรับตัวของหน่วยงานภาครัฐ และชุมชนในการนำนโยบายการ

พัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งมีสาระสำคัญ ๒ ส่วน โดยเริ่มจากการมองย้อนกลับไป   อ่านต่อ

 

แนวคิดการพัฒนาที่เป็นทางเลือกและทางรอดใหม่ของสังคมไทยนี้คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งภาครัฐได้

น้อมนำแนวคิดการพัฒนาเชิงปรัชญาจากพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ไปกำหนดเป็น

แนวนโยบายในการพัฒนาประเทศเพื่อหลุดพ้นจากห้วงของภาวะวิกฤติ

การนำนโยบายการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติที่ถือเป็นรากฐานสำคัญ

เป็นกลไกที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง คือ ชุมชน ซึ่งภาครัฐได้ป้อนทั้งเครื่องมือ และทรัพยากร

ลงไปในหน่วยงานระดับปฏิบัติในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างศักยภาพความเข้มแข็งให้กับชุมชน

ต่างๆ

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงนโยบาย พบว่า การปรับตัวของหน่วยงานภาครัฐ และ

ชุมชนในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติยังมีประเด็นต้องทบทวนและพิจารณาหาวิธีการปรับปรุงหลายประการ

สำหรับการปรับตัวของหน่วยงานภาครัฐ พบว่า ประเด็นสำคัญที่ต้องทบทวนพิจารณาคือ ความเข้าใจ

ในวัตถุประสงค์ของนโยบาย โดยเฉพาะความเข้าใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การคิดริเริ่มหาหนทางและ

กิจกรรมที่เหมาะสมในพื้นที่ และการบริหารจัดการทรัพยากร เป็นต้น

ส่วนการปรับตัวของชุมชน พบว่า มีการปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจมาจากประสบการณ์การเป็น

ผู้รับกิจกรรมการพัฒนา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตามยังพบประเด็นสำคัญที่ต้องทบทวน

พิจารณาคือ ข้อจำกัดเรื่องความเข้าใจวัตถุประสงค์ของนโยบาย โดยเฉพาะปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความ

เพียงพอของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ ความคิดริเริ่ม และการรอพึ่งพาทรัพยากรจากภายนอกชุมชน เป็นต้น

ประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณา คือ ผู้กำหนดนโยบายได้พยายามปรับเปลี่ยนหน้าตาของนโยบายการ

พัฒนาสู่ความเข้มแข็งของชุมชนโดยการกระจายเงินไปยังชุมชนในแบบที่เคยทำมา ให้เป็นนโยบายการพัฒนา

ชุมชนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งถือเป็น

(ที่มา: วิทยาลัยสงฆ์เลย)