www.weipinxgt.com www.hdf598.com www.rzkfqcg.com www.ywd100.com www.gzunitrade.com www.5aziyuan.com www.alsclean.com www.ynzsgc.com www.sdldtg.com www.i-sarima.com www.aijianbing.com www.xushiweigou.com www.haoyulongsp.com www.binqimotor.com www.kenminamipainting.com www.erli30.com www.cdhg88.com www.horse-home.com www.myjxzp.com www.dgselling.com www.chenlongjiancai.com www.zhongkuanwuliu.com www.huameide-sz.com www.shouxitongban.com www.scgcjx0207.com www.qdshengqian.com www.3w800.com www.kl-ad.com www.imshenghuo.com www.xxanlhw.com www.hfkaibo.com www.wlwservice.com www.jxguanghua.com www.zkld2009.com www.duanem.com www.hzwjzs.com www.chdlav.com www.lyxszl.com www.xinlaihuijiaju.com www.hrwholecare.com www.yingyang168.com www.honeywell-lk.com www.yushusanjiangyuanbao.com www.kangningyiyuan.com www.xzkjsxx.com www.jztushuguan.com www.gksswh.com www.jakjxx.com www.yyxlzw.com www.dwdzxx.com www.shszjzx.com www.skf-nsk-fag-ntn.com www.shanghailvhua.com www.yomandoors.com www.wenchengvote.com www.cn-sportsprotectors.com www.fuyixuantc.com www.jiayongdiant.com www.reshousuoj.com www.wuxitianzhile.com www.lsallx.com www.ravor-system.com www.jhbrq.com www.mirrvoll.com www.likekiwi.com www.hbclzqcj.com www.cqqfbxgm.com www.nmgdwjlw.com www.zmdjtzfw.com www.xunchengchaju.com www.gssx-pxgl.com www.sha-jing.com www.zysjmbj.com www.131701.com www.tlyhyy.com www.hbfbfz.com www.hljpadm.com www.fenxiangzhuan005.com www.jv001.com www.ruiyucnc.com www.zhuochenglaser.com www.zhaoshudeng.com www.facebook-france.com www.yuxianchu.com www.139yes.com www.lazonaentertainment.com www.eastofedens.com www.latelier-gourmet.com www.kaisyomaru.com www.tenglonghb.com www.bdsmfreevids.com www.gzshbzw.com www.ymgb0991.com www.setonohanayome.com www.attachmentmoms.com www.njmzyjg.com www.hi4r.com www.exotic-nails.com www.ef25.com www.lslcxx.com
บทความวิชาการ
การปรับพฤติกรรมเยาวชนตามแนวพุทธ ฯ
06 พ.ย. 56 | บทความวิจัย
2616

ผู้แต่ง :: ผศ.คำผล กองแก้ว

ชื่อผู้วิจัย : ผศ.คำผล กองแก้ว ข้อมูลวันที่ : ๐๖/๑๑/๒๐๑๓
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารจัดการคณะสงฆ์)
วันสำเร็จการศึกษา : 2553

บทคัดย่อ
ชื่อรายงานการวิจัย : การปรับพฤติกรรมเยาวชนตามแนวพุทธ : กรณีศึกษา ค่ายเยาวชน โครงการรัฐ – ราษฎร์ ร่วมใจพัฒนาของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุบลราชธานี

บทคัดย่อ

     การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดกิจกรรมค่ายเยาวชนตามแนวพุทธธรรมบำบัดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเสพติด 2) เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมตามแนวพุทธ ที่ใช้ในการฝึกอบรม 3) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้สารเสพติดที่มีผลต่อครอบครัวและชุมชน 4) เพื่อให้รู้อุปสรรคและปัญหาในการจัดค่ายเยาวชน กลุ่มประชากรเป้าหมายเป็นเยาวชนที่เข้าค่ายตามคำสั่งของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 220 คน ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ศาลเยาวชน และครูฝึก 50 คน รวมทั้งสิ้น 320 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากข้อมูลที่ได้พบว่าเยาวชนใช้สารเสพติดประเภทต่าง ๆ ตามลำดับ ดังนี้ บุหรี่ร้อยละ 42.7 สุราร้อยละ 24.1 กัญชาร้อยละ 12.7 ยาบ้าร้อยละ 9.5 ไม่ระบุประเภทร้อยละ 1.8 และเฮโรอีนร้อยละ 0.9 เลิกใช้แล้วร้อยละ 75.9 ยังไม่ได้ 24.1 ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินโครงการโดยครูฝึกและเจ้าหน้าที่ศาลเยาวชน พบว่า เยาวชนร้อยละ 84.00 มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากวันแรกที่เข้าค่าย ร้อยละ 12.00 มีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เยาวชนมีความเชื่อมั่นว่าจะไม่เหลวไหลกลับไปใช้ยาเสพติดอีก ผู้ประเมินโครงการแสดงความคิดเห็นว่าสภาพแวดล้อมในชุมชนมีส่วนสำคัญที่จะให้เยาวชนหวนกลับคืนไปสู่สภาพการใช้สารเสพติดเหมือนเดิมได้อีกร้อยละ 62 ร้อยละ 34 เห็นว่าไม่มีผลและร้อยละ 4 ไม่แน่ใจ จากการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่คุมประพฤติ ผู้นำชุมชนและผู้ปกครอง พบว่าว่าเยาวชนร้อยละ 76 สามารถปรับตัวได้ดีขึ้น ร้อยละ 24 ยังไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร ผู้ให้การสัมภาษณ์ให้ข้อเสนอแนะว่า

     การจัดค่ายเยาวชนทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ชัดเจน แต่ควรมีการติดตามอย่างต่อเนื่องหลักพุทธธรรม สุภาษิต บทกลอน ผญา และเพลงธรรมะ ที่ใช้ประกอบกิจกรรมทำให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ตนเอง เข้าใจชีวิตได้ดียิ่งขึ้น มีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องความกตัญญูกตเวที ในช่วงพ่อ-แม่พบลูก ได้ถึงร้อยละ 64.00 การจัดค่ายตามหลักพุทธธรรมบำบัด ควรมีการติดตามผลหรือการวิจัยต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมระหว่างการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรม (ระยะหนึ่ง) เพื่อให้เยาวชนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแบบยั่งยืน