Saturday 10 May 2025
Home
About
Founder of the University
A Brief History of MCU
Motto | Philosophy | Resolution | Vision | Mission
University Emblem, Abbreviation, Official Color, and Symbolic Tree
Executive Administrators
Rector
Vice Rectors
Deans
Directors
Assistants to Rector
Structure of the University
Management Structure
University Council
Academic Council
Personnel Administration Committee
The Finance and Property Committee
Policy Direction and Development Plan Commitee
Authority
Strategic Plan
Related laws
Chief Information Officer
Admissions
Course
Faculties
Faculties
Offices
Institutions
Campuses
Colleges
Academic Service
Affiliated Institutes
Research
Student
Academic Calendar of Bachelor’s Degree
Academic Regulations of Master Degree Level
Academic Regulations of Bachelor’s Degree Level
Academic Regulations of Master Degree Level
Student registration system
MCU e-Learning
Video on Demand
MCU e-Journals System
Online Documentation System
MCU e-Book
MCU Slideplayer
Alumni
MCU e-Testing
e-Thesis
Staff
Provident Fund
University Regulations
MCU QA
MCU e-Meeting
LessPaper
MCU Mail
ประมวลจริยธรรมสำหรับบุคลากร
Employee Self Service
E-Office
HR form files
Donation
E-Service
Procurement
Contact
ภาษา / Language
EN
TH
Academic
Buddhism
Research Articles
Thesis
Philosophy and Religion
Buddhism and Modern Sciences
ลีลาคติธรรมคำกลอน
20 JUN 16 |
Buddhism
1579
ผู้แต่ง :: อดุลย์ คนแรง
อดุลย์ คนแรง
(2553)
กลอนสุภาพ เป็นกลอนประเภทหนึ่ง ซึ่งลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ที่
เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ ใช้ถ้อยคำและทำนองเรียบๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพเป็นกลอนหลัก
ของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถ
เข้าใจกลอนอื่นๆ ได้ง่ายขึ้นคำประพันธ์ ที่ต่อท้ายว่า “สุภาพ” นับว่าเป็นคำประพันธ์ที่แสดงลักษณะเป็นไทยแท้ ด้วยมีข้อบังคับในเรื่อง “รูปวรรณยุกต์” ในกลอนสุภาพนอกจากมีบังคับเสียงสระเป็น แบบแผนเช่นกลอนปกติแล้ว ยังบังคับรูปวรรณยุกต์เพิ่ม จึงมีข้อจำกัดทั้งรูปและเสียง
วรรณยุกต์ เป็นการแสดงไหวพริบปฏิภาณและความแตกฉานในการใช้ภาษาไทยของผู้แต่ง
ให้เด่นชัดยิ่งขึ้นคำประพันธ์กลอนสุภาพนิยมเล่นกันมากตั้งแต่สมัยอยุธยา จวบจนถึงปัจจุบัน ใน
ต้นรัตนโกสินทร์นั้นงานกลอนสุภาพเด่นชัดในรัชกาลที่ ๒ ซึ่งเฟื่องฟูถึงขนาดมีการแข่งขันต่อ
กลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัชสมัยมีผลงานออกมามากมาย เช่น กลอนโขน กลอนนิทาน
กลอนละคร กลอนตำราวัดโพธิ์ เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ ยัง
มีกวีท่านอื่นที่มีชื่อเสียง เช่น สุนทรภู่ เป็นต้น และในสมัยรัชกาลที่ ๖ ก็มีปราชญ์กวีทางกลอน
สุภาพที่สำคัญหลายท่านเช่นกัน
(ที่มา: สารนิพนธ์ ปี ๒๕๕๓)
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้
🍪 เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์
นโยบายการคุ้มคลองข้อมูลส่วนบุคคล
ยอมรับทั้งหมด