เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๘ พระพรหมวัชรธีราจารย์,ศ.ดร. อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมตตาเป็นประธานปิดโครงการพัฒนาบุคลากรและนิสิตเพื่อเป็นพระวิปัสสนาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย
วันจันทร์ ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2568 เวลา 13.00 น. พระพรหมวัชรธีราจารย์,ศ.ดร. อธิการบดี มจร เป็นประธานในพิธีถวายการปฏิสันถาร ฟังพระธรรมเทศนา จาก H.E.Vairochana Rinpoche, Her Majesty and Her Royal Highness แห่งราชอาณาจักรภูฏาน ณ อาคาร มวก.48 พรรษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระนครศรีอยุธยา
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลจำนวน ๑๐๔ อัตรา
ทำบุญปีใหม่ มจร 2568 จับฉลากล ลุ้นรางวัล
พิธีถวายพระพรชัยมงคลและเจริญพระพุทธมนต์ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่ากับ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระราชวงศ์จักรี พุทธศักราช ๒๕๖๘ โดย ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ทั่วประเทศ วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๘ ณ อาคารวิปัสสนาธุระ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร)
"อ.เบียร์ คนตื่นธรรม" ข้ากราบสักการะ "พระเทพวัชรสารบัณฑิต" ปมเปรียบพระเกจิกับสุนัข
ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง นโยบายให้หรือรับของขวัญแก่ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา และบุคลากรมหาวิทยาลัยในช่วงเทศกาล หรือช่วงระยะเวลาอื่นๆ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๗
พิธีอัญเชิญปัจจัยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา เพื่อพระราชทานทุนการศึกษาแก่นิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันประสูติ 8 มกราคม โดย นายกิติภัค เกษรสิริธร ผู้แทนพระองค์ ณ อาคารวิปัสสนาธุระ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2568
มื่อวันที่ 7 มกราคม 2568 พระปลัดสรวิชญ์ อภิปญฺโญ,ผศ.ดร. อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร) เป็นประธานเปิดงานสัมมนาระดับนานาชาติ “First Phule-Shahu-Ambedkar World Literary Conference” ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กรุงเทพมหานคร งานนี้ได้รับความสนใจจากนักวิชาการชาวพุทธในรัฐมหาราชฏ ประเทศอินเดีย ที่ประชุมได้ร่วมกันเน้นย้ำบทบาทของพุทธศาสนาและวรรณกรรมในการสร้างสังคมที่เท่าเทียม
“ความเป็นผู้รู้จักเวลา เป็นรากฐานสำคัญ ที่ทำให้คนเราสามารถดูแลรับผิดชอบตนเองได้ อันจะนำไปสู่ความสำเร็จที่สูงขึ้นต่อไปในอนาคต เด็กทุกคนจึงควรได้รับการปลูกฝังให้เป็นผู้รู้จักเวลา รู้ว่าเวลาใดควรปฏิบัติสิ่งใด..เหมาะแก่เวลาเสมอ” พระบรมราโชวาท ร.10 เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ปี 2568